นวัตกรรมผ่าตัดแบบเจาะรูแผลเล็กบาดเจ็บน้อย Minimally Invasive Surgery (MIS)
เนื่องจากภาวะกระดูกสันหลังผิดรูป กระดูกหลังคดเป็นภาวะที่พบได้บ่อย และมักจะเป็นที่สังเกตได้ชัดเจนจากภายนอก การรักษามีความยากและซับซ้อนมากขึ้น สมัยก่อนผู้ป่วยมักเชื่อกันว่าต้องรอให้มีอาการก่อนจึงจะมาพบแพทย์ เนื่องจากกลัวว่าการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด เสี่ยงต่อการเป็นอัมพาต แต่ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ในด้านเครื่องมือ, การพัฒนาเทคนิคในการผ่าตัดทำให้การรักษาภาวะกระดูกสันหลังผิดรูปได้ผลดีมากขึ้น, ภาวะแทรกซ้อนน้อยลง ทั้งนี้การรักษาจะได้ผลดีที่สุดเมื่อผู้ป่วยได้รับการประเมิณและรักษาในช่วงเวลาเหมาะสม และโรคยังไม่รุนแรงมากนัก ดังนั้น รศ.นพ.วิชาญ ยิ่งศักดิ์มงคล จึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อให้ความรู้ และวิธีการรักษา ด้าน โรคกระดูกสันหลัง Spinal Disorders โดยวิธีที่ทันสมัยและถูกต้อง, ความรู้สำหรับประชาชนทั่วไป, เทคนิคและวิธีทางการแพทย์ที่ทันสมัยในปัจจุบันนี้
หนังสือสำหรับประชาชน New!!
หนังสือ “การผ่าตัดกระดูกสันหลังชนิดแผลเล็กบาดเจ็บน้อย (Minimally Invasive Spine Surgery) นวัตกรรมการผ่าตัดขั้นสูงและการดูแลผู้ป่วย”
เล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 8 บท ซึ่งรวมวิวัฒนาการของการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ชนิดแผลเล็กบาดเจ็บน้อยใน 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เข้ากับความท้าทายในการบูรณาการ เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่กับหลักการและแนวความคิดในการรักษาและ การผ่าตัดแบบองค์รวม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงเทคนิคการผ่าตัดกระดูกสันหลังขั้นสูง โดยนำเสนอการผ่าตัดกระดูกสันหลังชนิดแผลเล็กบาดเจ็บน้อยเป็นขั้นตอนปฏิบัติโดยละเอียดร่วมกับภาพประกอบ ตามหลักการคิดอย่างมีวิจารณญาณและหลักฐานเชิงประจักษ์ ตลอดจนการจัดการทางวิสัญญีเพื่อการดูแลและบรรเทาอาการปวด ก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลังได้อย่างเหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการผ่าตัดรักษา เพิ่มความปลอดภัยผู้ป่วย ผู้ป่วยฟื้นตัวจากการผ่าตัดเร็ว ลดระยะเวลาของการอยู่รักษาในโรงพยาบาล กลับไปทำงานได้เร็วขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ประกอบด้วย 4 ตอน คือ 1. ภาวะกระดูกสันหลังเสื่อม 2. แนวทางการตัดสินใจรับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง 3. การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัดกระดูกสันหลัง และ 4. การฟื้นสภาพหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ประกอบด้วย 6 ตอน คือ 1. อาการปวดหลัง 2. อาการปวดคอ 3. กระดูกสันหลังคด 4. โรคอื่นๆ ทางกระดูกสันหลัง 5. วิธีการผ่าตัด และ 6. หลังการผ่าตัด
นิพนธ์ โดย : รศ. นพ. วิชาญ ยิ่งศักดิ์มงคล
- 27 ตุลาคม 2021
-
จำนวนคนดู: 29,130
THAIspinecenter
รศ.นพ.วิชาญ ยิ่งศักดิ์มงคล ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อให้ความรู้ และวิธีการรักษา ด้าน โรคกระดูกสันหลัง Spinal Disorders โดยวิธีที่ทันสมัยและถูกต้อง, ความรู้สำหรับประชาชนทั่วไป, เทคนิคและวิธีทางการแพทย์ที่ทันสมัยในปัจจุบันนี้
ข้อมูลเบื้อนต้น (ในการรักษาอาการปวดหลัง)
อาการปวดหลัง ( Back Pain ) เป็น “ สาเหตุหลัก ” ที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ที่คลินิกออร์โธปิดิกส์ทั่วโลก และประมาณ หนึ่งในสาม ของผู้ป่วยของแผนกออร์โธปิดิกส์ จะเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับ “ หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ” ( Degenerative Disc Disease )
เทคนิคการผ่าตัด
เทคโนโลยีการผ่าตัดด้วยวิธีเปิดแผลขนาดเล็ก ผ่านท่อเข้าไปในกระดูกสันหลัง เป็นการผ่าตัดด้วยเครื่องมือชนิดพิเศษ ช่วยให้การผ่าตักมีความแม่นยำสูงและแผลผ่าตัดมีขนาดเล็ก มาก ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและเสียเลือด ที่สำคัญเป็นการช่วยลดเวลาในการพักฟื้น ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถกลับสู่คุณภาพชีวิตที่ดีได้เร็วยิ่งขึ้น
เทคนิคการผ่าตัด Minimally Invasive Surgery ( MIS )
coming soon!!!
ACDF with locking PPEK
Posterior Decompression
MIS TLIF
Endoscopic decompression
Prone XLIF
XALIF
บริการสังคมความรู้สู่ประชาชนทางรายการโทรทัศน์
คุณณัฏฐพัชร์ วิภัทรเดชตระกูล กระดูกสันหลังส่วนคอกดทับเส้นประสาท
คุณนัดดา วิยกาญจน์
กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท
กระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
ประสบณ์การอุบัติเหตุ คุณแฮ็ค รุ่งเรือง อนันตยะ
คุณ ปิงปอง สะแกวัลย์ ยงใจยุทธ รักษากระดูกส่วนคอยุบ เกิดจากอุบัติเตหุทางน้ำ
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกส่วนคอ
“โรคซ่อนเร่นจากอาการปวดปั้นเอว”
บทความน่ารู้เรื่อง
ทำไมต้องกระดูกสันหลังผิดปกติ?
ทำไมต้องกระดูกสันหลังผิดปกติ?
ภาวะกระดูกสันหลังผิดรูป เป็นภาวะที่พบได้บ่อย และมักจะเป็นที่สังเกตได้ชัดเจนจากภายนอกเมื่ออาการเป็นมากแล้ว
การเปลี่ยนใส่ข้อกระดูกสันหลังเทียม
อาการปวดหลัง ( Back Pain ) เป็น “ สาเหตุหลัก ” ที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ที่คลินิกออร์โธปิดิกส์ทั่วโลก และประมาณ หนึ่งในสาม ของผู้ป่วยของแผนกออร์โธปิดิกส์
ศัลยกรรมเปลี่ยนชีวิต
ตอน การผ่าตัดแก้ไขกระดูกสันหลังคด
รายการ Health Station
สถานีโทรทัศน์ ITV พฤษภาคม 2548
The most common form of spinal deformity is idiopathic scoliosis, a spinal curvature in the coronal plane occurring in normal healthy patients. No known etiology exists except a familial predisposition. There is no evidence of an underlying neurologic or muscular disorder and there are no congenital vertebral anomalies. The Scoliosis Research Society classifies idiopathic scoliosis based on the age when the curvature develops. There are three categories
ขอบคุณหนังสือพิมพ์ ที่แนะนำเวป ให้ปรากฎต่อ สายตาชาวไทยทั่วทั้งประเทศ ฉบับวันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2548 หน้า 7 เดลี่@เวป
www.thairath.co.th
อาการปวดหลัง ( Back Pain ) เป็น “ สาเหตุหลัก ” ที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ที่คลินิกออร์โธปิดิกส์ทั่วโลก และประมาณ หนึ่งในสาม ของผู้ป่วยของแผนกออร์โธปิดิกส์ จะเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับ
“ หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ” ( Degenerative Disc Disease ) ซึ่งนับเป็น ปัญหา และ สาเหตุ ที่ พบบ่อยที่สุด ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเรื้อรัง โดยเฉพาะ กลุ่มประชากรที่อยู่ในวัยทำงาน การเปลี่ยนแปลงของหมอนรองกระดูกสันหลัง อาจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงตามวัยที่สูงขึ้น ( Natural Aging Process ) หรือ การบาดเจ็บที่มีต่อหมอนรองกระดูกเอง หรือ ปัจจัยอื่นๆร่วมด้วย จากเหตุดังกล่าวทำให้ อุบัติการณ์ของโรคปวดหลังเรื้อรังมีเพิ่มมากขึ้น ใน “ ทุกอาชีพ” และ “ เกือบทุกช่วงอายุ ”